สร้างเสริมความรับผิดชอบผ่านความโปร่งใส
เราเชื่อว่าการเผยแพร่หลักการจัดการความเป็นส่วนตัว การรักษาความปลอดภัย และการเข้าถึงข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้รู้เท่าทัน และส่งเสริมการสร้างโลกออนไลน์ที่มั่นคงปลอดภัยยิ่งขึ้นได้ต่อไป ดังนั้นเราจึงจัดทำรายงานเพื่อความโปร่งใสและเผยแพร่วิธีแนะนำเนื้อหาในผลิตภัณฑ์และบริการของ Google เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของเราในการสร้างความโปร่งใส
ให้ความสำคัญกับ รายงานเพื่อความโปร่งใส
เราเปิดตัวรายงานเพื่อความโปร่งใสชุดแรกกว่าทศวรรษที่แล้วเพื่อแสดงให้ผู้ใช้เห็นว่านโยบายภาครัฐส่งผลต่อการเข้าถึงข้อมูลอย่างไร รวมทั้งเปิดประเด็นเรื่องการไหลของข้อมูลอย่างเสรีทางออนไลน์ เราเผยแพร่รายงานเพื่อความโปร่งใสหลายชุดที่แสดงให้เห็นว่า Google ทำงานอย่างไร ตั้งแต่การตอบสนองคำขอของรัฐบาลไปจนถึงการจัดการการกลั่นกรองเนื้อหาในผลิตภัณฑ์และบริการของเรา
เราเปิดตัวรายงานเพื่อความโปร่งใสชุดแรกกว่าทศวรรษที่แล้วเพื่อแสดงให้ผู้ใช้เห็นว่านโยบายภาครัฐส่งผลต่อการเข้าถึงข้อมูลอย่างไร รวมทั้งเปิดประเด็นเรื่องการไหลของข้อมูลอย่างเสรีทางออนไลน์ เราเผยแพร่รายงานเพื่อความโปร่งใสหลายชุดที่แสดงให้เห็นว่า Google ทำงานอย่างไร ตั้งแต่การตอบสนองคำขอของรัฐบาลไปจนถึงการจัดการการกลั่นกรองเนื้อหาในผลิตภัณฑ์และบริการของเรา
ดูรายงานแนะนำ
รายงานเพื่อความโปร่งใส
Google Safe Browsing
ดูว่าทีมความปลอดภัยของ Google ทำอย่างไรเพื่อให้โลกออนไลน์ปลอดภัยขึ้นด้วยการระบุเว็บไซต์ที่ไม่ปลอดภัยและเตือนเจ้าของเว็บไซต์ต่างๆ ถึงสิ่งที่อาจเป็นอันตราย
รายงานเพื่อความโปร่งใส
คำขอของรัฐบาลให้นำเนื้อหาออก
ดูจำนวนคำขอที่เราได้รับจากศาลและหน่วยงานรัฐบาลทั่วโลกเพื่อนำข้อมูลออกจากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของ Google
รายงานเพื่อความโปร่งใส
การบังคับใช้หลักเกณฑ์ของชุมชน YouTube
ดูรายงานที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับการแจ้งว่าไม่เหมาะสมที่ YouTube ได้รับและวิธีที่เราบังคับใช้นโยบายเพื่อรักษาชุมชนให้ปลอดภัยและมีชีวิตชีวา
เผยแพร่วิธีแนะนำเนื้อหา
เราพัฒนาระบบที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้ผู้ใช้พบเนื้อหาที่ตรงความต้องการและได้รับผลลัพธ์ที่เหมาะกับตนเอง คำแนะนำถือว่ามีบทบาทสำคัญในการดูแลรักษาผลิตภัณฑ์และบริการที่มีความรับผิดชอบ ซึ่งช่วยลดโอกาสที่ผู้ใช้จะเห็นเนื้อหาที่เป็นอันตรายและผิดกฎหมาย
เราพัฒนาระบบที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้ผู้ใช้พบเนื้อหาที่ตรงความต้องการและได้รับผลลัพธ์ที่เหมาะกับตนเอง คำแนะนำถือว่ามีบทบาทสำคัญในการดูแลรักษาผลิตภัณฑ์และบริการที่มีความรับผิดชอบ ซึ่งช่วยลดโอกาสที่ผู้ใช้จะเห็นเนื้อหาที่เป็นอันตรายและผิดกฎหมาย
ดูว่าปัจจัยต่างๆ มีผลต่อคำแนะนำอย่างไร
ผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างจะนำพารามิเตอร์ ปัจจัย และสัญญาณเฉพาะหลากหลายแบบไปประกอบการพิจารณาเพื่อแนะนำเนื้อหา ซึ่งปัจจัยทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลต่อผลลัพธ์ที่คุณจะได้รับ มาดูหลักการต่างๆ ที่ผลิตภัณฑ์แต่ละแบบใช้ในการแนะนำ และวิธีการปรับการตั้งค่าของคุณ
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
เลือกผลิตภัณฑ์
Chrome Web Store
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Ads
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Assistant
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Maps
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Play
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Search
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Google Shopping
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Travel
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
Waze
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube
YouTube
Chrome Web Store
ผู้ใช้มีหลายตัวเลือกในการค้นหารายการต่างๆ ใน Chrome เว็บสโตร์ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ด คอลเล็กชันที่มีการดูแลจัดการ หน้าแรก และรายการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณ โดยสโตร์จะจัดระเบียบและแสดงรายการต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นพบรายการที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและกรณีการใช้งานของตน ระบบใช้ปัจจัยต่อไปนี้เพื่อจัดระเบียบรายการ
คุณภาพของประสบการณ์ในด้านประสบการณ์และคุณค่าตามหลักเกณฑ์ด้านบรรณาธิการ: ระบบจะเลือกสินค้าที่แนะนำใน Chrome เว็บสโตร์ด้วยตนเองตามเกณฑ์การมีสิทธิ์ที่กำหนดไว้
ความเกี่ยวข้อง: การจัดอันดับการค้นหาและคำแนะนำจะเรียงลำดับตามชื่อสินค้า ความเกี่ยวข้องของคำอธิบาย ความนิยม และประสบการณ์ของผู้ใช้
ความนิยมของผู้ใช้: จำนวนการให้คะแนนและคะแนนเฉลี่ยจะนำมาพิจารณาเมื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการ
Google Ads
โฆษณา Google ที่ผู้ใช้เห็นใน Google นั้นอาจปรับหรือไม่ได้ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น
- ตัวเลือกที่ผู้ใช้เลือกใน My Ad Center เช่น หัวข้อโฆษณาหรือแบรนด์ที่ชอบ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนโฆษณาได้โดยเลือกหัวข้อและแบรนด์ที่อยากเห็นโฆษณามากขึ้นหรือน้อยลง
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ ตลอดจนข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search, วิดีโอที่ดูใน YouTube, แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ในขณะที่ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ผู้ใช้สามารถเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ใน My Ad Center หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google อยู่ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บได้โดยไปยังการตั้งค่าโฆษณา จากนั้นเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
หากต้องการรายละเอียการทำงานของโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ โปรดไปยังหน้าความช่วยเหลือของ My Ad Center
Google Assistant
เมื่อผู้ใช้ถามคำถามหรือบอกให้ทำอะไรบางอย่าง Google Assistant จะพยายามตอบสนองคำขอในลักษณะที่เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น Assistant อาจแสดงสูตรอาหารแนะนำตามกิจกรรมของผู้ใช้ทั่วทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google, เพลย์ลิสต์ส่วนบุคคลใน YouTube Music, เพลงที่ชอบ, ไฟล์ที่อัปโหลด หรือเนื้อหาในคลัง และผลการค้นหาที่ปรับตามความสนใจของผู้ใช้ใน Search หรือ Actions on Google
ขณะใช้ Google Assistant ผู้ใช้อาจได้เห็นการกระทำที่แนะนำ ซึ่งสามารถเลือกทำตามนั้นหรือดูรายละเอียดคำตอบเพิ่มขึ้นได้ การกระทำที่แนะนำนั้นช่วยมอบประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์และตรงกับผู้ใช้มากขึ้น และอาจใช้ข้อมูลที่เรารวบรวมเมื่อมีการใช้บริการของเรา เช่น คำถามที่ผู้ใช้เคยถาม Google Assistant หรือกิจกรรมที่ผู้ใช้สร้างใน Google ปฏิทิน นอกจากนี้ การกระทำที่แนะนำอาจได้มาจากคำถามยอดนิยมที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่ผู้ใช้รายอื่นๆ เคยถาม
ปัจจัยที่เรียกการกระทำที่แนะนำขึ้นมาอาจมาจากผู้ใช้ได้ส่วนหนึ่ง เมื่อผู้ใช้ลบกิจกรรมที่ผ่านมา หรือเปิดหรือปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคล นอกจากนี้ ยังควบคุมได้ว่าจะให้บันทึกกิจกรรมใดในบัญชี Google ขณะปรับส่วนควบคุมกิจกรรม
หากต้องการทราบรายละเอียดการทำงานของการกระทำที่แนะนำ โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Assistant
Google Maps
Google Maps มุ่งมั่นที่จะช่วยคุณสำรวจโลกรอบๆ ตัว โดยที่คุณจะค้นหาสถานที่ที่สนใจ กิจกรรมน่าสนใจ หรือสถานที่เด่นๆ ใน Google Maps ได้ นอกจากนั้นยังค้นหาสถานที่ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ที่อยู่ใกล้เคียง ร้านอาหารใหม่ๆ หรือจะเป็นคลับและบาร์ชื่อดัง ตลอดจนดูคะแนนและคำอธิบายของสถานที่เหล่านั้นได้
เมื่อคุณค้นหาสถานที่เด่นๆ หรือกิจกรรมน่าสนใจใน Google Maps ผลลัพธ์ที่ได้จะอ้างอิงตามความเกี่ยวข้อง ระยะทาง และความโดดเด่นเป็นหลัก ระบบจะรวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อช่วยหาผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่คุณค้นหามากที่สุด ตัวอย่างเช่น อัลกอริทึมของ Google อาจจัดอันดับธุรกิจที่ได้คะแนนสูงซึ่งอยู่ไกลกว่าไว้เหนือธุรกิจที่ได้คะแนนน้อยกว่าแต่อยู่ใกล้คุณมากกว่า
ในการเลือกว่าจะแสดงสถานที่ใด Google Maps อาจใช้ข้อมูลจากบัญชี Google ของคุณ เช่น กิจกรรมบนเว็บและแอปและข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณได้รับการแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณเกี่ยวกับสถานที่ซึ่งคุณอาจสนใจ
เนื้อหาในฟีดชุมชนจะปรับเปลี่ยนในแบบของคุณและจัดอันดับตามกิจกรรมบนเว็บและแอป ตลอดจนพื้นที่ปัจจุบันบนแผนที่ ฟีดชุมชนอาจมีข้อมูลอัปเดตจากผู้ใช้ Maps คนอื่นๆ โพสต์จากผู้คนที่คุณติดตาม และสถานที่แนะนำที่อ้างอิงจากความต้องการของคุณและกิจกรรมที่ผ่านมา
คุณสามารถปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของตัวเองหรือปิดคำแนะนำที่ปรับเปลี่ยนในแบบของคุณใน Google Maps ได้ที่การตั้งค่าในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดอ่านบทความในศูนย์ช่วยเหลือของเราเกี่ยวกับวิธีที่ Google Maps แสดงคำแนะนำ
Google Play
Google Play ต้องการช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาแอปที่ให้ประสบการณ์ที่ดี จึงมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลการค้นหาที่ตอบโจทย์ผู้ใช้มากที่สุด โดย Google Play จะแสดงแอปคุณภาพสูงที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ มีการพิจารณาปัจจัยหลายด้านก่อนตัดสินใจว่าจะแสดงแอปใดเมื่อผู้ใช้ทำการค้นหา จะแสดงกี่แอป และแสดงอย่างไร ดังนี้
- ความเกี่ยวข้อง: เราแสดงแอปที่ตรงกับหน้าที่ผู้ใช้กำลังใช้หรือสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา
- คุณภาพประสบการณ์ที่ได้รับจากแอป: เราแสดงแอปที่ให้ประสบการณ์ในแอปที่ดีกับผู้ใช้โดยพิจารณาหลายปัจจัย รวมทั้งการออกแบบแอปด้วย
- คุณค่าทางบรรณาธิการ: เราคัดสรรคำแนะนำตามความเหมาะสมและความสนใจ
- โฆษณา: เมื่อนักพัฒนาลงโฆษณาแอปของตน โฆษณาเหล่านั้นจะต้องได้รับการจำแนกอย่างเหมาะสม
- ประสบการณ์ของผู้ใช้: เราแสดงแอปที่ทำผลงานได้ดีใน Play Store และผู้ใช้ยังชอบใช้ต่อไปหลังจากติดตั้งแล้ว
ปัจจัยเหล่านี้มีน้ำหนักต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ ความชอบของคุณ และส่วนที่คุณกำลังมองหาใน Google Play
ผู้ใช้สามารถจัดการการปรับประสบการณ์ตามโปรไฟล์ของตนได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากต้องการทราบวิธีทำงานของคำแนะนำใน Google Play โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Play
Google Search
ระบบจัดอันดับของ Google ออกแบบมาเพื่อจัดเรียงหน้าเว็บนับแสนล้านหน้า รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ ในดัชนีของ Search เพื่อให้ผลการค้นหาที่ตรงความต้องการและเป็นประโยชน์มากที่สุดภายในเสี้ยววินาที และเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้มากที่สุด อัลกอริทึมของ Search จะพิจารณาปัจจัยและสัญญาณหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำค้นหาของผู้ใช้ ความเกี่ยวข้องและความสามารถในการใช้งานของหน้าเว็บ ความเชี่ยวชาญของแหล่งที่มา ตลอดจนสถานที่ตั้งและการตั้งค่า น้ำหนักความสำคัญของแต่ละปัจจัยนั้นจะแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของคำค้นหา เช่น ความสดใหม่ของเนื้อหามีบทบาทสำคัญในการตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อข่าวในปัจจุบันมากกว่าการค้นหาคำจำกัดความในพจนานุกรม
ปัจจัยหลักๆ ที่ช่วยกำหนดผลการค้นหาที่ผู้ใช้จะได้รับกลับมาคือความหมายของคำค้นหา ความเกี่ยวข้อง คุณภาพ ความสามารถในการใช้งาน การตั้งค่าของผู้ใช้ และบริบท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่
Discover
Discover ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอัปเดตตามความสนใจ เช่น ทีมกีฬาทีมโปรดหรือเว็บข่าว โดยไม่ต้องค้นหาด้วยตนเอง Discover ปรากฏอยู่ได้หลากหลายส่วน เช่น ในแอป Google, ใน google.com เมื่อใช้เบราว์เซอร์ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android และ iPhone และในอุปกรณ์บางเครื่อง เพียงปัดหน้าจอไปทางขวาจากหน้าจอหลักของเครื่อง
Google ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ของผู้ใช้และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google ในการเลือกเนื้อหาที่แสดงใน Discover และ Google ยังใช้ข้อมูลในบัญชี Google อีกด้วย ข้อมูลนี้ได้มาจากการตั้งค่า ซึ่งอาจรวมกิจกรรมบนเว็บและแอป ประวัติตำแหน่ง และการตั้งค่าตำแหน่ง ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนหรือเปิดปิดการตั้งค่าเหล่านี้ได้ในหน้าส่วนควบคุมกิจกรรม หากไม่ต้องการเรื่องราวที่ปรับมาให้ตรงกับตนเอง ผู้ใช้สามารถปิดผลการค้นหาเฉพาะบุคคลได้ในส่วนข้อมูลและความเป็นส่วนตัวในบัญชี Google หรือปิด Discover
หากต้องการทราบวิธีปรับแต่งเนื้อหาใน Discover โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ Google Search
Google Shopping
โฆษณา Shopping
โดยค่าเริ่มต้น อันดับของโฆษณา Shopping นั้นจะจัดตามราคาเสนอของผู้ลงโฆษณาและความเกี่ยวข้องรวมกัน เช่น ข้อความค้นหาและกิจกรรมปัจจุบันของผู้ใช้
โฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Google จะแสดงต่อผู้ใช้ตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
- ข้อมูลผู้ใช้ เช่น อายุและเพศ รวมทั้งข้อมูลที่ผู้ใช้ให้ไว้ในบัญชี Google
- กิจกรรมที่บันทึกไว้ในบัญชี Google ของผู้ใช้ เช่น สิ่งที่ค้นหาใน Google Search หรือแท็บ Shopping วิดีโอที่ดูใน YouTube แอปที่ติดตั้งไว้ในอุปกรณ์ Android และโฆษณาหรือเนื้อหาที่เคยโต้ตอบด้วย
- กิจกรรมจากเว็บไซต์ที่ร่วมมือกับ Google ซึ่งบันทึกไว้ในบัญชี Google
ข้อมูลที่แสดงฟรี
ข้อมูลที่แสดงฟรีช่วยให้ลูกค้าเห็นผลการค้นหาผลิตภัณฑ์ทั่วทั้ง Google เช่น จากแท็บ Shopping, YouTube, Google Search (.com), Google รูปภาพ และ Google Lens ข้อเสนอต่างๆ จะจัดลำดับตามการประเมินภาพรวมประสบการณ์ช็อปปิ้งของผู้ใช้ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องของผลการค้นหากับคำค้นหา และประสบการณ์ที่มีกับผลิตภัณฑ์และ/หรือผู้ขายที่เสนอขายสินค้านั้นๆ เว้นแต่ว่าจะระบุไว้เป็นอื่น นอกจากนี้ Google ยังใช้กิจกรรมการท่องเว็บใน Web Search, แท็บ Shopping และฟีเจอร์ค้นหารูปภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น กิจกรรมนี้รวมไปถึงการค้นหาและการคลิกหน้าผลการค้นหาของ Google Search
นอกจากนี้ จะมีการใช้กิจกรรมที่ผ่านมาใน Google เพื่อให้คำแนะนำสินค้าที่ควรซื้อและส่งการแจ้งเตือนตามความชอบของผู้ใช้
ส่วนโฆษณา Shopping และข้อมูลที่แสดงฟรีนั้น ผู้ใช้สามารถจัดการประสบการณ์ที่ปรับให้เหมาะกับตนเองได้ในส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ด้วยการปิดการปรับโฆษณาตามโปรไฟล์ของผู้ใช้และกิจกรรมบนเว็บและแอป หรือด้วยการลบกิจกรรมที่ผ่านมา
หากผู้ใช้ไม่ได้ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google ไว้ ก็สามารถปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ใน Search, YouTube และเว็บไซต์ได้ด้วยการไปยังการตั้งค่าโฆษณา แล้วเปิดหรือปิดโฆษณาที่ปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ในแต่ละส่วน
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำแนะนำและการปรับตามโปรไฟล์ของผู้ใช้ได้ที่ศูนย์ช่วยเหลือของ Google Shopping
Travel
Hotels
เมื่อผู้ใช้ค้นหาโรงแรมใน Google ก็จะเห็นรายชื่อโรงแรมมากมายพร้อมแผนที่ในผลการค้นหานี้ โดยค่าเริ่มต้น ผลการค้นหาจะจัดเรียงตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งพิจารณาตามปัจจัยสำคัญที่หลากหลาย เช่น ข้อความค้นหา ลักษณะในด้านต่างๆ ของโรงแรม เช่น ที่ตั้ง ราคา คะแนนและรีวิวจากผู้ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้อาจปรับมาเพื่อผู้ใช้โดยเฉพาะตามกิจกรรมการท่องเว็บ การค้นหาล่าสุดใน Google และการจองก่อนหน้านี้ (สำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้และมีการตั้งค่าบัญชีที่เหมาะสม)
ผู้ใช้อาจเห็นโฆษณาจากสปอนเซอร์ทางด้านบนของผลการค้นหา โดยมีป้าย "โฆษณา" และชื่อของผู้ลงโฆษณากำกับไว้ โฆษณาเหล่านี้ได้รับเลือกและจัดอันดับโดยการประมูล ซึ่ง Google พิจารณาจากราคาเสนอและคุณภาพของโฆษณา โฆษณาเหล่านี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเกี่ยวข้องกับข้อความค้นหาเท่านั้น และไม่ส่งผลต่อผลการค้นหา
ผู้ใช้สามารถควบคุมสิ่งที่เห็นได้โดยการปรับการค้นหาและกิจกรรมบนแอปจากส่วนควบคุมกิจกรรมของบัญชี Google โดยสามารถปิดการปรับประสบการณ์ให้เหมาะกับตนเองด้วยการปิดกิจกรรมบนเว็บและแอปหรือการลบกิจกรรมที่ผ่านมา และยังปรับผลการค้นหาเฉพาะบุคคลและการตั้งค่า Gmail ได้ด้วย
Flights
เมื่อผู้ใช้ค้นหาเที่ยวบิน Google Flights จะจัดเรียงผลลัพธ์โดยอัตโนมัติตาม "เที่ยวบินที่ดีที่สุด" โดยแสดงเที่ยวบินที่คุ้มค่าที่สุดตามราคา ระยะเวลาการเดินทาง ช่วงเวลาเดินทาง และปัจจัยอื่นๆ "เที่ยวบินที่ดีที่สุดสำหรับการเดินทางขาไป" จะจัดอันดับตามความคุ้มค่าที่ได้เมื่อพิจารณาทั้งราคาและความสะดวก รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการเดินทาง จำนวนการแวะพัก และการเปลี่ยนสนามบินในช่วงแวะพัก ส่วนเที่ยวบินขาไปอื่นๆ จะจัดอันดับแบบเรียงราคาจากต่ำไปสูง และจะแสดงแผนการเดินทางที่ไม่มีราคากำกับไว้ล่างสุด
เมื่อผู้ใช้เลือกแผนการเดินทางแล้ว ก็อาจเห็นลิงก์ไปทำการจองกับสายการบินหรือ OTA ที่เป็นพาร์ทเนอร์ของเรา ลิงก์การจองจะจัดอันดับตามปัจจัยต่างๆ เช่น ลิงก์นั้นมีราคาระบุไว้ไหม, ราคาจากพาร์ทเนอร์ใน Google Flights, ลิงก์นั้นนำไปยังเว็บไซต์ที่เหมาะกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ไหม, ลิงก์นั้นเป็นลิงก์ของสายการบินหรือบริษัทท่องเที่ยวออนไลน์ไหม ตลอดจนประเภทและคุณภาพของลิงก์เอง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีค้นหาโรงแรมได้ที่แท็บโรงแรมในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีจัดอันดับเที่ยวบินที่ดีที่สุดใน Google Flights ได้ที่แท็บเที่ยวบินในศูนย์ช่วยเหลือการท่องเที่ยว
Waze
อัลกอริทึมการค้นหาของ Waze ออกแบบมาเพื่อแสดงผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับการค้นหาของคุณ เมื่อคุณป้อนคำค้นหาใน Waze เราจะระบุตำแหน่งที่เป็นไปได้และแสดงผลลัพธ์ตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ระยะทางของคุณจากตำแหน่งที่ระบุ
- ระดับความตรงกันของตำแหน่งที่ระบุกับคำค้นหาของคุณ
- ความโดดเด่นและความนิยมของตำแหน่งที่ระบุ
หากคำค้นหาของคุณตรงกับโฆษณาหรือเนื้อหาจากสปอนเซอร์อื่นๆ ระบบจะแสดงไว้ที่ด้านบนของผลการค้นหาและติดป้ายกำกับอย่างชัดเจนว่าเป็นโฆษณา
เมื่อคุณเลือกจุดหมายแล้ว Waze จะเสนอเส้นทางต่างๆ เป็นตัวเลือกเพื่อไปยังจุดหมายที่เลือกไว้ ในการจัดอันดับเส้นทางแนะนำเพื่อนำทางไปยังจุดหมายของคุณ เราจะพิจารณาตามปัจจัยและลำดับความสำคัญดังต่อไปนี้
- ข้อจำกัดของถนน/พื้นที่ (เช่น ข้อจำกัดตามเวลา ประเภทยานพาหนะ ฯลฯ)
- การตั้งค่าของผู้ใช้ (เช่น หลีกเลี่ยงถนนที่มีค่าผ่านทาง)
- ประเภทของถนน (เช่น ถนนที่มีค่าผ่านทาง ถนนส่วนบุคคล ฯลฯ)
- เวลาถึงโดยประมาณ
- ระยะทางและจำนวนช่วงถนน
เราจะแสดงเส้นทางแนะนำจำนวนหนึ่งให้คุณตามปัจจัยดังกล่าว โดยเส้นทางแรกจะเป็นเส้นทางที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดเสมอ เส้นทางแนะนำอื่นๆ จะจัดอันดับตามปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงเส้นทางที่คุณชื่นชอบ (ได้แก่เส้นทางที่คุณมักจะใช้) และเส้นทางธรรมชาติ (ได้แก่เส้นทางที่คุณคาดว่าจะได้รับ) ไปยังจุดหมายปลายทางดังกล่าว เส้นทางทั้งหมดจะมีป้ายกำกับเพื่อให้คุณเข้าใจว่าทำไมระบบจึงแนะนำแต่ละเส้นทางเหล่านั้น
ข้อมูลธุรกิจในผลการค้นหาของ Waze
Waze อาจแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานที่เมื่อคุณค้นหา เช่น ข้อมูลติดต่อ เวลาทำการ และราคา ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ใช้ Waze, Google ตลอดจนพาร์ทเนอร์รายอื่นๆ
เราทำงานร่วมกับพาร์ทเนอร์หลากหลายรายเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องของธุรกิจต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถใช้ Waze ในการนำทางไปได้ โดยเราจะได้รับข้อมูลจากพาร์ทเนอร์เหล่านี้และพยายามอัปเดตข้อมูลนี้เป็นประจำ แม้ว่าแหล่งข้อมูลที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ แต่เราตั้งเป้าที่จะแสดงข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ชุมชนผู้แก้ไขของเรายังคอยแนะนำสิ่งที่ควรอัปเดตเพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ
ในหน้าผลการค้นหาและหน้าสถานที่ Waze จะพยายามแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สุดสำหรับผู้ใช้แต่ละคน ตัวอย่างเช่น การแสดงราคาน้ำมันที่เกี่ยวข้องกับประเภทเชื้อเพลิงที่ผู้ใช้ทำเครื่องหมายไว้ในการตั้งค่า หากผู้ใช้ไม่ได้ทำเครื่องหมายในการตั้งค่านี้ไว้ เราจะแสดงราคาน้ำมันที่ถูกที่สุดเท่าที่มีแทน บางครั้ง ระบบอาจระบุราคาเพิ่มเติมและราคาสำหรับบริการเสริมอื่นๆ ไว้ในหน้าสถานที่
Waze ไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลที่สาม จึงไม่สามารถรับประกันความถูกต้องของข้อมูลและไม่รับผิดชอบต่อข้อมูลที่ล้าสมัยหรือไม่ถูกต้อง
หากต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูคำถามและคำตอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแอป Waze ได้ที่ฟอรัมชุมชน Waze ของเรา
YouTube
ระบบแนะนำของ YouTube มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้จากข้อมูลหรือที่เราเรียกว่าสัญญาณกว่า 8 หมื่นล้านจุดทุกวัน ซึ่งอาจรวมไปถึงประวัติการรับชมและค้นหาของผู้ใช้ (หากเปิดใช้งานไว้) การติดตามช่อง และเวลาในการรับชม
นอกจากนี้ YouTube ยังใช้ข้อมูลการแชร์ การชอบหรือไม่ชอบเนื้อหา และการเลือก "ไม่สนใจ" และ "ไม่ต้องแนะนำ" อีกด้วย ทุกคนมีนิสัยในการรับชมเนื้อหาไม่เหมือนกัน ระบบ YouTube จึงเปรียบเทียบนิสัยในการรับชมของผู้ใช้กับผู้ที่มีนิสัยคล้ายๆ กัน โดยใช้ข้อมูลนี้ในการแนะนำเนื้อหาอื่นๆ ที่อาจตรงใจ
ความสำคัญของสัญญาณแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้แต่ละคน ระบบของเราจึงไม่ได้ทำงานตามสูตรตายตัว แต่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามนิสัยการรับชมเนื้อหาของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไป
การมีส่วนปรับคำแนะนำและผลการค้นหานั้นทำได้หลายวิธี ผู้ใช้สามารถนำออกหรือหยุดวิดีโอบางรายการไว้ชั่วคราวได้จากประวัติการดูหรือประวัติการค้นหาผ่านกิจกรรม Google ของฉัน และยังเลือกหัวข้อในคำแนะนำจากหน้าแรกและหน้าสำหรับดู หรือนำเนื้อหาแนะนำออกได้
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ YouTube Search ได้ที่หน้า YouTube Search หากต้องการดูว่าคำแนะนำใน YouTube ได้มาอย่างไร โปรดไปยังหน้าคำแนะนำของ YouTube หากต้องการจัดการคำแนะนำและผลการค้นหาใน YouTube โปรดไปยังศูนย์ช่วยเหลือของ YouTube